DORAEMON

DORAEMON

บทนิยามของความรัก

-ความรักไม่ใช่เส้นบะหมี่ -ความรักไม่ได้มีกันง่าย -ความรักจะเกิดขึ้นระหว่างคนสองคน -ความรักจะไม่ตายไปจากเรา --ความรักไม่ใช่ความใคร่ --ความรักเป็นความห่วงใยและคิดถึง --ความรักไม่ใช่ความต้องการของใครคนนึง --ความรักคือการคิดถึงซึ่งกันและกัน --ความรักไม่ใช่การหลอกลวง --ความรักไม่ใช่การหวงเป็นสิ่งของ --ความรักไม่ต้องการของใครมาจับจอง --ความรักไม่ใช่ของๆใคร -ความรักคือการให้ -ความรักคือการใส่ใจกันและกัน -ความรักไม่ใช่การเอาแต่จะฟัน -ความรักคือความฝันของคนสองคน --ความรักคือการอดทน --ความรักคือการไม่บ่นต่อเวลา --ความรักไม่ตีกรอบความห่วงหา --ความรักเปรียบเหมือนยารักษาใจ -ความรักไม่ใช่การหลอกใช้ -ความรักไม่ใช่การให้เพื่อหวังผล -ความรักคือการให้ของคนสองคน -ความรักไม่กังวลต่อสิ่งลวงตา --ความรักคือความเชื่อใจ --ความรักต้องไม่ระแวงกันและกัน --ความรักคือความเชื่อมั่น --ความรักต้องฝันไปให้ไกล -ความรักคือการให้เวลา -ความรักไม่ใช่บอกว่า"เราไม่ว่าง" -ความรักไม่เหมือนดอกไม้ริมทาง -ที่จะเด็ดดมทิ้งขว้างและเดินจากไป --ความรักอาจดูหอม --ความรักนั้นถอนคืนมาไม่ได้ --ความรักคือรักแล้วทั้งหัวใจ --ความรักคือความเชื่อใจที่มีให้กัน -ความรักอาจดูโง่เขลา -ความรักอาจดูเหมือนเราเป็นบ้า -ความรักต้องพิสูจน์กันที่เวลา -ความรักต้องดูกันว่าใครเปลี่ยนไป

DORAEMON

DORAEMON

Dennis Ritche

Dennis Ritche

ประวัติภาษาซี

ภาษาซีเป็นภาษาที่ถือว่าเป็นทั้งภาษาระดับสูงและระดับต่ำ ถูกพัฒนาโดยเดนนิส
ริดชี (Dennis ritche) แห่งห้องทดลองเบลล์ (Bell laboratories) ที่เมอร์รีฮิล
มลรัฐนิวเจอร์ซี่
โดยเดนนิสได้ใช้หลักการของภาษา
บีซีพีแอล (BCPL : Basic Combine Programming Language) ซึ่งพัฒนาขึ้นโดยเคน
ทอมสัน (Ken tomson) การออกแบบและพัฒนาภาษาซีของเดนนิส ริดชี
มีจุดมุ่งหมายให้เป็นภาษาสำหรับใช้เขียนโปรแกรมปฏิบัติการระบบยูนิกซ์
และได้ตั้งชื่อว่า ซี (C) เพราะเห็นว่า ซี (C) เป็นตัวอักษรต่อจากบี (B)
ของภาษา BCPL ภาษาซีถือว่าเป็นภาษาระดับสูงและภาษาระดับต่ำ ทั้งนี้เพราะ
ภาษาซีมีวิธีใช้ข้อมูลและมีโครงสร้างการควบคุมการทำงานของโปรแกรมเป็นอย่างเดียวกับภาษาของโปรแกรมระดับสูงอื่นๆ
จึงถือว่าเป็นภาษาระดับสูง ในด้านที่ถือว่าภาษาซีเป็นภาษาระดับต่ำ
เพราะภาษาซีมีวิธีการเข้าถึงในระดับต่ำที่สุดของฮาร์ดแวร์
ความสามารถทั้งสองด้านของภาษานี้เป็นสิ่งที่เกื้อหนุนซึ่งกันและกัน
ความสามารถระดับต่ำทำให้ภาษาซีสามารถใช้เฉพาะเครื่องได้ และความสามารถระดับสูง
ทำให้ภาษาซีเป็นอิสระจากฮาร์ดแวร์
ภาษาซีสามารถสร้างรหัสภาษาเครื่องซึ่งตรงกับชนิดของข้อมูลนั้นได้เอง
ทำให้โปรแกรมที่เขียนด้วยภาษาซีที่เขียนบนเครื่องหนึ่ง
สามารถนำไปใช้กับอีกเครื่องหนึ่งได้ ประกอบกับการใช้พอยน์เตอร์ในภาษาซี
นับได้ว่าเป็นตัวอย่างที่ดีของการเป็นอิสระจากฮาร์ดแวร

ภาษาซีเป็นภาษาที่มีลักษณะเด่นพอสรุปได้ดังนี้
-
เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ที่มีการพัฒนาขึ้นใช้งานเพื่อเป็นภาษามาตรฐานที่ไม่ขึ้นกับโปรแกรมจัดระบบงานและไม่ขึ้นกับฮาร์ดแวร์
- เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ที่อาศัยหลักการที่เรียกว่า "โปรแกรมโครงสร้าง"
จึงเป็นภาษาที่เหมาะกับการพัฒนาโปรแกรมระบบ
-
เป็นคอมไพเลอร์ที่มีประสิทธิภาพสูง ให้รหัสออบเจ็กต์สั้น ทำงานได้รวดเร็ว
เหมาะกับงานที่ต้องการ ความรวดเร็วเป็นสำคัญ
-
มีความคล่องตัวคล้ายภาษาแอสแซมบลี ภาษาซีสามารถเขียนแทนภาษาแอสแซมบลีได้ดี
ค้นหาที่ผิดหรือ แก้โปรแกรมได้ง่าย
ภาษาซีจึงเป็นภาษาระดับสูงที่ทำงานเหมือนภาษาระดับต่ำ
-
มีความคล่องตัวที่จะประยุกต์เข้ากับงานต่างๆ ได้เป็นอย่างดี การพัฒนาโปรแกรม เช่น
เวิร์ดโพรเซสซิ่ง สเปรดชีต ดาตาเบส ฯลฯ
มักใช้ภาษาซีเป็นภาษาสำหรับการพัฒนา
-
เป็นภาษาที่มีอยู่บนเกือบทุกโปรแกรมจัดระบบงาน มีในเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ตั้งแต่
8 บิต ไปจนถึง 32 บิต เครื่องมินิคอมพิวเตอร์ และเมนเฟรม
-
เป็นภาษาที่รวมข้อดีเด่นในเรื่องการพัฒนา
จนทำให้ป็นภาษาที่มีผู้สนใจมากมายที่จะเรียนรู้หลักการของภาษา
และวิธีการเขียนโปรแกรม ตลอดจนการพัฒนางานบนภาษานี้


วันจันทร์ที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2552

วิธิการเล่นรูบิค
ขั้นที่ 1 ทำสีด้านใดหน้าหนึ่งให้ได้ทั้งหมด สีที่ติดกับด้านที่ทำเสร็จเป็นรูปตัว T (แบบหางขาดนิดๆ) ดังรูป
ขั้นที่ 2 ทำชั้นที่ 2 ให้เสร็จ จะได้ดังรูป
สำหรับตัวผมสามารถคิดได้เองถึงขั้นนี้แหละครับ
ขั้นที่ 3 ทำให้มุมที่อยู่ด้านตรงข้ามด้านที่เสร็จแล้วอยู่ในมุมที่ถูกต้อง

หลายคนอาจจะงงครับว่าขั้นตอนนี้คืออะไรก็ขออธิบายง่ายๆ จากรูปที่มีเลย ด้านล่าง(ก้นรูบิค) คือด้านที่ทำเสร็จแล้วครับดังนั้นเราจะต้องทำมุม 4 มุมซึ่งเป็นมุมที่ตรงข้ามกับด้านที่ทำเสร็จแล้ว(ในรูปจะมีมุมสีส้มอ่อน 2 มุมและด้านหลังอีก 2 มุมที่ไม่ได้ลงสี) ให้อยู่ในรูปแบบที่ถูกต้องครับจะขออธิบายรูปแบบที่ถูกต้องดังนี้ จากรูปจะเห็นว่ามีสีทีี่่ประจำ 3 ด้านอยู่่สามสี นั่นคือสีส้มสีขาวและสีเขียวดังนั้นทั้ง 4 มุมที่ว่านั้นขอให้มีสามสีนี้เป็นองค์ประกอบก็พอครับแต่จะอยู่ที่ตำแหน่งใดก็ได้ ดังรูป

ขั้นที่ 4 ทำมุมให้มีสีให้อยู่ในตำแหน่งที่ถูกต้องและทำให้เข้ารูปแบบเพื่อให้ง่ายในขั้นตอนสุดท้ายการทำให้มุมมีสี 4 มุมที่ขั้นที่แล้วมีสีที่ถูกต้องจะได้ดังรูปครับ

จากนั้นมาดูตรงกลางของหน้าสุดท้ายกัน ถ้ามีสีตรงกันในทุกๆหน้า(4 มุมในขั้นตอนที่แล้ว)ก็จบในขั้นตอนนี้แต่ถ้าไม่เป็นดังนั้น หาด้านที่มีสีที่ตรงกับด้านที่หันหน้าให้ตัวเรา (แบบไหนก็ได้ - สีไหนก็ได้ขอให้ตรงด้านก็พอ)

ในรูปสีส้มถือว่าตรง จากนั้นก็หมุน

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น